แท่งเทียนประเภทสาม: Stars

อ่าน 3844 ครั้ง

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

แท่งเทียนประเภทสาม: Stars
« เมื่อ: 31/ก.ค./2015 03:37:39 »




Stars คือแท่งเทียนที่มีขนาด Body ของแท่งเล็ก (Spinning Tops) ซึ่งตัว Star จะเกิดขึ้นเมื่อมีแท่งเทียนขนาดเล็กเปิดละปิดแท่งในบริเวณที่ไม่ได้อยู่ในระยะของ Body ของแท่งก่อนหน้า
ตราบเท่าที่ Body ของแท่ง Star ไม่เข้าไปเลื่อมล้ำ Body ของแท่งเทียนแท่งก่อนหน้า ผู้เทรดสามารถพิจารณาแท่งเทียนนั้นได้ว่ามีความเป็นไปได้ที่จะเป็น Star ทั้งหมด สีของแท่งเทียนที่เป็นแท่ง Star
ไม่มีนัยสำคัญอันใด สามารถเป็นสีอะไรก็ได้ หากแท่งที่เป็น Star ปิดตัวเป็นแบบ โดจิ เราจะเรียกแท่งนั้นว่า Doji Star


แท่งเทียนตระกูล Stars เป็นสัญญาณเตือนให้ผู้เทรดได้ระวังตัวเองว่าเทรนที่ดำเนินมาก่อนหน้ามีความเป็นไปได้ที่จะจบลง ตัวแท่ง Star เองแสดงให้ผู้เทรดได้เห็นถึงการคุมเชิงระหว่างเทรนทั้งสองอยู่ ยกตัวอย่างเช่น
Star ที่เกิดขึ้นในตลาดขาขึ้นหมายความว่า เริ่มมีคนไม่เห็นด้วยกับตลาดขาขึ้นและต้องการจะ sell ในขณะที่คนที่ซื้อก็พยายามจะดันราคาให้กลับไปเป็นเทรนขึ้นดังเดิม จึงเกิดการต่อสู้ภายในแท่ง Star นั่นเอง หรือ
Star ที่เกิดในตลาดขาลงหมายความว่าเริ่มมีคนอยากจะ buy ราคาให้ขึ้นไปบ้างแล้ว รูปแบบ Star สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ
  • The Morning Star
  • The Evening Star
    The Morning Star
    Morning Star เป็นรูปแบบ Star ที่เกิดขึ้นในตลาดขาลง เหตุผลที่รูปแบบนี้ได้รับชื่อนี้เพราะเทรนขาขึ้นก็เหมือนกับพระอาทิตย์ในวันใหม่และ Morning Star ก็เป็นเหมือนกับพระอาทิตย์ที่ขึ้นในยามเช้านั่นเอง
    Morning Star ประกอบไปด้วยแท่งเทียน 3 แท่ง


    1.แท่งแรกเป็นแท่งเทียนขาลงสีดำที่ทำ Low ใหม่ของแท่งเรียบร้อยมีความหมายว่าตลาดยังเป็นของเทรนขาลงอย่างชัดเจน
    2.แท่งที่ 2 เป็นแท่ง Star ที่มี Body ไม่เลื่อมล้ำเข้าไปใน Body ของแท่งแรกมีความหมายว่าเทรนขาลงก่อนหน้าเริ่มมีความเป็นไปได้ที่จะหมดแรงในการดันตลาดให้ลงไปอีก
    3. แท่งที่ 3 เป็นแท่งเทียนขาขึ้นที่มี Body ของแท่งอยู่ในระยะ Body ของแท่งเทียนแท่งแรกซึ่งมีความหมายว่า ยืนยันแล้วว่าเริ่มมีคน Buy อย่างชัดเจนและตลาดกำลังกลับมาเป็นของเทรนขาขึ้น







    The Evening Star
    Evening Star เป็นรูปแบบ Star ที่เกิดในด้านตรงกันข้ามกับ The Morning Star ความหมายของ Evening Star เหมือนกับ Morning Star ทุกอย่าง เมื่อ Morning Star หมายถึง
    พระอาทิตย์ขึ้นในยามรุ่งอรุณ Evening Star ก็คือพระอาทิตย์ตกในยามอัสดงนั่นเองมีความหมายว่าความมืดกำลังจะเข้ามาปกคลุม (เพราะแท่งเทียนขาลงเป็นสีดำ) Evening Star ประกอบด้วยแท่งเทียน 3 แท่ง
    เช่นเดียวกับ Morning Star


    1.แท่งแรกเป็นแท่งเทียนขาขึ้นสีขาวที่ทำ High ใหม่ของแท่งเรียบร้อยมีความหมายว่าตลาดยังเป็นของเทรนขาขึ้นอย่างชัดเจน
    2.แท่งที่ 2 เป็นแท่ง Star ที่มี Body ไม่เลื่อมล้ำเข้าไปใน Body ของแท่งแรกมีความหมายว่าเทรนขาขึ้นก่อนหน้าเริ่มมีความเป็นไปได้ที่จะหมดแรงในการดันตลาดให้ขึ้นไปอีก เป็นตัวใบ้แรกสำหรับเทรนขาลง
    3. แท่งที่ 3 เป็นแท่งเทียนขาลงที่มี Body ของแท่งอยู่ในระยะ Body ของแท่งเทียนแท่งแรกซึ่งมีความหมายว่า ยืนยันแล้วว่าเริ่มมีคน Sell อย่างชัดเจนและตลาดกำลังกลับมาเป็นของเทรนขาลง





    ตามหลักทฤษฎีแล้ว รูปแบบ Evening Star จะต้องมี Gap (พื้นที่ว่างระหว่างแท่งเทียน) ระหว่าง Body ของแท่งเทียนแท่งที่ 1 และแท่งที่ 2 นอกจากนั้นยังจะต้องมี Gap ระหว่าง Body ของแท่งเทียนแท่งที่ 2
    และแท่งที่ 3 อีก แต่ในตลาด Forex นอกจากวันที่เป็นวันเปิดตลาดแล้ว น้อยมากที่ผู้เทรดจะมีโอกาสได้เห็น Gap ของราคา ดังนั้นผู้เทรดไม่ต้องกังวลเรื่อง Gap ของรูปแบบนี้ในเวลาที่เทรดจริง ๆ
    สิ่งที่ผู้เทรดจะต้องให้ความสำคัญสำหรับรูปแบบนี้คือ การปิดแท่งของแท่งที่ 3 ยิ่งแท่งที่ 3 สามารถปิดแท่งได้ใกล้กับจุดเปิดหรือเลยจุดเปิดของแท่งที่ 1 ไปได้ไกลเท่าไหร่ ยิ่งเป็นผลดีต่อการเปลี่ยนเทรนเท่านั้น


    สิ่งที่ควรสังเกตการกลับตัวของราคาจากรูปแบบ Morning Star และ Evening Star
  • Gap ของราคาที่เกิดระหว่าง Body ของแท่งเทียนแท่งแรกและแท่งเทียนแท่งที่ 2 รวมไปถึง Gap ระหว่างแท่งเทียนแท่งที่ 2 และแท่งที่ 3
  • ยิ่งแท่งเทียนแท่งที่ 3 สามารถปิดได้ใกล้กับจุดเปิดหรือเลยจุดเปิดของแท่งที่ 1 ก็ยิ่งเป็นผลดีต่อการเปลี่ยนเทรนเท่านั้น
  • หากแท่งเทียนแท่งที่ 1 เป็นแท่งเทียนที่ดูแล้วไม่ค่อยมีแรงเช่น โดจิ หรือ Spinning Tops หรือ พวกแท่งเทียนที่มีไส้ของแท่งเยอะกว่า Body ของแท่ง แล้วแท่งเทียนแท่งที่ 3 เป็นแท่งเทียนที่เป็น Trend Bar เต็มแท่ง จะยิ่งส่งผลดีต่อรูปแบบนี้มากขึ้น
  • Morning Star และ Evening Star ขอแค่ จุดปิดของแท่งที่ 2 (แท่ง Star) ไม่เลื่อมล้ำกับจุดปิดของแท่งเทียนแท่งที่ 1 ก็พอแล้ว


เหตุผลที่แท่งเทียนแท่งที่ 3 มีความสำคัญต่อรูปแบบตระกูล Star มากเพราะแท่งที่ 3 จะเป็นแท่งยืนยันว่า ความไม่ชัดเจนก่อนหน้านี้ได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น หากแท่งที่ 3
สามารถทะลุ High หรือ Low ของแท่ง Star ไปได้นั่นหมายความว่า ความเป็นไปได้ที่จะกลับตัวล้มเหลวและราคาก็จะวิ่งไปต่อในทิศทางเดิม


ตัวอย่างของ Morning Star และ Evening Star
Ex1



Ex2



Ex3



Ex4



Ex 5







Stars คือแท่งเทียนที่มีขนาด Body ของแท่งเล็ก (Spinning Tops) ซึ่งตัว Star จะเกิดขึ้นเมื่อมีแท่งเทียนขนาดเล็กเปิดละปิดแท่งในบริเวณที่ไม่ได้อยู่ในระยะของ Body ของแท่งก่อนหน้า
ตราบเท่าที่ Body ของแท่ง Star ไม่เข้าไปเลื่อมล้ำ Body ของแท่งเทียนแท่งก่อนหน้า ผู้เทรดสามารถพิจารณาแท่งเทียนนั้นได้ว่ามีความเป็นไปได้ที่จะเป็น Star ทั้งหมด สีของแท่งเทียนที่เป็นแท่ง Star
ไม่มีนัยสำคัญอันใด สามารถเป็นสีอะไรก็ได้ หากแท่งที่เป็น Star ปิดตัวเป็นแบบ โดจิ เราจะเรียกแท่งนั้นว่า Doji Star


แท่งเทียนตระกูล Stars เป็นสัญญาณเตือนให้ผู้เทรดได้ระวังตัวเองว่าเทรนที่ดำเนินมาก่อนหน้ามีความเป็นไปได้ที่จะจบลง ตัวแท่ง Star เองแสดงให้ผู้เทรดได้เห็นถึงการคุมเชิงระหว่างเทรนทั้งสองอยู่ ยกตัวอย่างเช่น
Star ที่เกิดขึ้นในตลาดขาขึ้นหมายความว่า เริ่มมีคนไม่เห็นด้วยกับตลาดขาขึ้นและต้องการจะ sell ในขณะที่คนที่ซื้อก็พยายามจะดันราคาให้กลับไปเป็นเทรนขึ้นดังเดิม จึงเกิดการต่อสู้ภายในแท่ง Star นั่นเอง หรือ
Star ที่เกิดในตลาดขาลงหมายความว่าเริ่มมีคนอยากจะ buy ราคาให้ขึ้นไปบ้างแล้ว รูปแบบ Star สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ
  • The Morning Star
  • The Evening Star
    The Morning Star
    Morning Star เป็นรูปแบบ Star ที่เกิดขึ้นในตลาดขาลง เหตุผลที่รูปแบบนี้ได้รับชื่อนี้เพราะเทรนขาขึ้นก็เหมือนกับพระอาทิตย์ในวันใหม่และ Morning Star ก็เป็นเหมือนกับพระอาทิตย์ที่ขึ้นในยามเช้านั่นเอง
    Morning Star ประกอบไปด้วยแท่งเทียน 3 แท่ง


    1.แท่งแรกเป็นแท่งเทียนขาลงสีดำที่ทำ Low ใหม่ของแท่งเรียบร้อยมีความหมายว่าตลาดยังเป็นของเทรนขาลงอย่างชัดเจน
    2.แท่งที่ 2 เป็นแท่ง Star ที่มี Body ไม่เลื่อมล้ำเข้าไปใน Body ของแท่งแรกมีความหมายว่าเทรนขาลงก่อนหน้าเริ่มมีความเป็นไปได้ที่จะหมดแรงในการดันตลาดให้ลงไปอีก
    3. แท่งที่ 3 เป็นแท่งเทียนขาขึ้นที่มี Body ของแท่งอยู่ในระยะ Body ของแท่งเทียนแท่งแรกซึ่งมีความหมายว่า ยืนยันแล้วว่าเริ่มมีคน Buy อย่างชัดเจนและตลาดกำลังกลับมาเป็นของเทรนขาขึ้น







    The Evening Star
    Evening Star เป็นรูปแบบ Star ที่เกิดในด้านตรงกันข้ามกับ The Morning Star ความหมายของ Evening Star เหมือนกับ Morning Star ทุกอย่าง เมื่อ Morning Star หมายถึง
    พระอาทิตย์ขึ้นในยามรุ่งอรุณ Evening Star ก็คือพระอาทิตย์ตกในยามอัสดงนั่นเองมีความหมายว่าความมืดกำลังจะเข้ามาปกคลุม (เพราะแท่งเทียนขาลงเป็นสีดำ) Evening Star ประกอบด้วยแท่งเทียน 3 แท่ง
    เช่นเดียวกับ Morning Star


    1.แท่งแรกเป็นแท่งเทียนขาขึ้นสีขาวที่ทำ High ใหม่ของแท่งเรียบร้อยมีความหมายว่าตลาดยังเป็นของเทรนขาขึ้นอย่างชัดเจน
    2.แท่งที่ 2 เป็นแท่ง Star ที่มี Body ไม่เลื่อมล้ำเข้าไปใน Body ของแท่งแรกมีความหมายว่าเทรนขาขึ้นก่อนหน้าเริ่มมีความเป็นไปได้ที่จะหมดแรงในการดันตลาดให้ขึ้นไปอีก เป็นตัวใบ้แรกสำหรับเทรนขาลง
    3. แท่งที่ 3 เป็นแท่งเทียนขาลงที่มี Body ของแท่งอยู่ในระยะ Body ของแท่งเทียนแท่งแรกซึ่งมีความหมายว่า ยืนยันแล้วว่าเริ่มมีคน Sell อย่างชัดเจนและตลาดกำลังกลับมาเป็นของเทรนขาลง





    ตามหลักทฤษฎีแล้ว รูปแบบ Evening Star จะต้องมี Gap (พื้นที่ว่างระหว่างแท่งเทียน) ระหว่าง Body ของแท่งเทียนแท่งที่ 1 และแท่งที่ 2 นอกจากนั้นยังจะต้องมี Gap ระหว่าง Body ของแท่งเทียนแท่งที่ 2
    และแท่งที่ 3 อีก แต่ในตลาด Forex นอกจากวันที่เป็นวันเปิดตลาดแล้ว น้อยมากที่ผู้เทรดจะมีโอกาสได้เห็น Gap ของราคา ดังนั้นผู้เทรดไม่ต้องกังวลเรื่อง Gap ของรูปแบบนี้ในเวลาที่เทรดจริง ๆ
    สิ่งที่ผู้เทรดจะต้องให้ความสำคัญสำหรับรูปแบบนี้คือ การปิดแท่งของแท่งที่ 3 ยิ่งแท่งที่ 3 สามารถปิดแท่งได้ใกล้กับจุดเปิดหรือเลยจุดเปิดของแท่งที่ 1 ไปได้ไกลเท่าไหร่ ยิ่งเป็นผลดีต่อการเปลี่ยนเทรนเท่านั้น


    สิ่งที่ควรสังเกตการกลับตัวของราคาจากรูปแบบ Morning Star และ Evening Star
  • Gap ของราคาที่เกิดระหว่าง Body ของแท่งเทียนแท่งแรกและแท่งเทียนแท่งที่ 2 รวมไปถึง Gap ระหว่างแท่งเทียนแท่งที่ 2 และแท่งที่ 3
  • ยิ่งแท่งเทียนแท่งที่ 3 สามารถปิดได้ใกล้กับจุดเปิดหรือเลยจุดเปิดของแท่งที่ 1 ก็ยิ่งเป็นผลดีต่อการเปลี่ยนเทรนเท่านั้น
  • หากแท่งเทียนแท่งที่ 1 เป็นแท่งเทียนที่ดูแล้วไม่ค่อยมีแรงเช่น โดจิ หรือ Spinning Tops หรือ พวกแท่งเทียนที่มีไส้ของแท่งเยอะกว่า Body ของแท่ง แล้วแท่งเทียนแท่งที่ 3 เป็นแท่งเทียนที่เป็น Trend Bar เต็มแท่ง จะยิ่งส่งผลดีต่อรูปแบบนี้มากขึ้น
  • Morning Star และ Evening Star ขอแค่ จุดปิดของแท่งที่ 2 (แท่ง Star) ไม่เลื่อมล้ำกับจุดปิดของแท่งเทียนแท่งที่ 1 ก็พอแล้ว


เหตุผลที่แท่งเทียนแท่งที่ 3 มีความสำคัญต่อรูปแบบตระกูล Star มากเพราะแท่งที่ 3 จะเป็นแท่งยืนยันว่า ความไม่ชัดเจนก่อนหน้านี้ได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น หากแท่งที่ 3
สามารถทะลุ High หรือ Low ของแท่ง Star ไปได้นั่นหมายความว่า ความเป็นไปได้ที่จะกลับตัวล้มเหลวและราคาก็จะวิ่งไปต่อในทิศทางเดิม


ตัวอย่างของ Morning Star และ Evening Star
Ex1



Ex2



Ex3



Ex4



Ex 5







Stars คือแท่งเทียนที่มีขนาด Body ของแท่งเล็ก (Spinning Tops) ซึ่งตัว Star จะเกิดขึ้นเมื่อมีแท่งเทียนขนาดเล็กเปิดละปิดแท่งในบริเวณที่ไม่ได้อยู่ในระยะของ Body ของแท่งก่อนหน้า
ตราบเท่าที่ Body ของแท่ง Star ไม่เข้าไปเลื่อมล้ำ Body ของแท่งเทียนแท่งก่อนหน้า ผู้เทรดสามารถพิจารณาแท่งเทียนนั้นได้ว่ามีความเป็นไปได้ที่จะเป็น Star ทั้งหมด สีของแท่งเทียนที่เป็นแท่ง Star
ไม่มีนัยสำคัญอันใด สามารถเป็นสีอะไรก็ได้ หากแท่งที่เป็น Star ปิดตัวเป็นแบบ โดจิ เราจะเรียกแท่งนั้นว่า Doji Star


แท่งเทียนตระกูล Stars เป็นสัญญาณเตือนให้ผู้เทรดได้ระวังตัวเองว่าเทรนที่ดำเนินมาก่อนหน้ามีความเป็นไปได้ที่จะจบลง ตัวแท่ง Star เองแสดงให้ผู้เทรดได้เห็นถึงการคุมเชิงระหว่างเทรนทั้งสองอยู่ ยกตัวอย่างเช่น
Star ที่เกิดขึ้นในตลาดขาขึ้นหมายความว่า เริ่มมีคนไม่เห็นด้วยกับตลาดขาขึ้นและต้องการจะ sell ในขณะที่คนที่ซื้อก็พยายามจะดันราคาให้กลับไปเป็นเทรนขึ้นดังเดิม จึงเกิดการต่อสู้ภายในแท่ง Star นั่นเอง หรือ
Star ที่เกิดในตลาดขาลงหมายความว่าเริ่มมีคนอยากจะ buy ราคาให้ขึ้นไปบ้างแล้ว รูปแบบ Star สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ
  • The Morning Star
  • The Evening Star
    The Morning Star
    Morning Star เป็นรูปแบบ Star ที่เกิดขึ้นในตลาดขาลง เหตุผลที่รูปแบบนี้ได้รับชื่อนี้เพราะเทรนขาขึ้นก็เหมือนกับพระอาทิตย์ในวันใหม่และ Morning Star ก็เป็นเหมือนกับพระอาทิตย์ที่ขึ้นในยามเช้านั่นเอง
    Morning Star ประกอบไปด้วยแท่งเทียน 3 แท่ง


    1.แท่งแรกเป็นแท่งเทียนขาลงสีดำที่ทำ Low ใหม่ของแท่งเรียบร้อยมีความหมายว่าตลาดยังเป็นของเทรนขาลงอย่างชัดเจน
    2.แท่งที่ 2 เป็นแท่ง Star ที่มี Body ไม่เลื่อมล้ำเข้าไปใน Body ของแท่งแรกมีความหมายว่าเทรนขาลงก่อนหน้าเริ่มมีความเป็นไปได้ที่จะหมดแรงในการดันตลาดให้ลงไปอีก
    3. แท่งที่ 3 เป็นแท่งเทียนขาขึ้นที่มี Body ของแท่งอยู่ในระยะ Body ของแท่งเทียนแท่งแรกซึ่งมีความหมายว่า ยืนยันแล้วว่าเริ่มมีคน Buy อย่างชัดเจนและตลาดกำลังกลับมาเป็นของเทรนขาขึ้น







    The Evening Star
    Evening Star เป็นรูปแบบ Star ที่เกิดในด้านตรงกันข้ามกับ The Morning Star ความหมายของ Evening Star เหมือนกับ Morning Star ทุกอย่าง เมื่อ Morning Star หมายถึง
    พระอาทิตย์ขึ้นในยามรุ่งอรุณ Evening Star ก็คือพระอาทิตย์ตกในยามอัสดงนั่นเองมีความหมายว่าความมืดกำลังจะเข้ามาปกคลุม (เพราะแท่งเทียนขาลงเป็นสีดำ) Evening Star ประกอบด้วยแท่งเทียน 3 แท่ง
    เช่นเดียวกับ Morning Star


    1.แท่งแรกเป็นแท่งเทียนขาขึ้นสีขาวที่ทำ High ใหม่ของแท่งเรียบร้อยมีความหมายว่าตลาดยังเป็นของเทรนขาขึ้นอย่างชัดเจน
    2.แท่งที่ 2 เป็นแท่ง Star ที่มี Body ไม่เลื่อมล้ำเข้าไปใน Body ของแท่งแรกมีความหมายว่าเทรนขาขึ้นก่อนหน้าเริ่มมีความเป็นไปได้ที่จะหมดแรงในการดันตลาดให้ขึ้นไปอีก เป็นตัวใบ้แรกสำหรับเทรนขาลง
    3. แท่งที่ 3 เป็นแท่งเทียนขาลงที่มี Body ของแท่งอยู่ในระยะ Body ของแท่งเทียนแท่งแรกซึ่งมีความหมายว่า ยืนยันแล้วว่าเริ่มมีคน Sell อย่างชัดเจนและตลาดกำลังกลับมาเป็นของเทรนขาลง





    ตามหลักทฤษฎีแล้ว รูปแบบ Evening Star จะต้องมี Gap (พื้นที่ว่างระหว่างแท่งเทียน) ระหว่าง Body ของแท่งเทียนแท่งที่ 1 และแท่งที่ 2 นอกจากนั้นยังจะต้องมี Gap ระหว่าง Body ของแท่งเทียนแท่งที่ 2
    และแท่งที่ 3 อีก แต่ในตลาด Forex นอกจากวันที่เป็นวันเปิดตลาดแล้ว น้อยมากที่ผู้เทรดจะมีโอกาสได้เห็น Gap ของราคา ดังนั้นผู้เทรดไม่ต้องกังวลเรื่อง Gap ของรูปแบบนี้ในเวลาที่เทรดจริง ๆ
    สิ่งที่ผู้เทรดจะต้องให้ความสำคัญสำหรับรูปแบบนี้คือ การปิดแท่งของแท่งที่ 3 ยิ่งแท่งที่ 3 สามารถปิดแท่งได้ใกล้กับจุดเปิดหรือเลยจุดเปิดของแท่งที่ 1 ไปได้ไกลเท่าไหร่ ยิ่งเป็นผลดีต่อการเปลี่ยนเทรนเท่านั้น


    สิ่งที่ควรสังเกตการกลับตัวของราคาจากรูปแบบ Morning Star และ Evening Star
  • Gap ของราคาที่เกิดระหว่าง Body ของแท่งเทียนแท่งแรกและแท่งเทียนแท่งที่ 2 รวมไปถึง Gap ระหว่างแท่งเทียนแท่งที่ 2 และแท่งที่ 3
  • ยิ่งแท่งเทียนแท่งที่ 3 สามารถปิดได้ใกล้กับจุดเปิดหรือเลยจุดเปิดของแท่งที่ 1 ก็ยิ่งเป็นผลดีต่อการเปลี่ยนเทรนเท่านั้น
  • หากแท่งเทียนแท่งที่ 1 เป็นแท่งเทียนที่ดูแล้วไม่ค่อยมีแรงเช่น โดจิ หรือ Spinning Tops หรือ พวกแท่งเทียนที่มีไส้ของแท่งเยอะกว่า Body ของแท่ง แล้วแท่งเทียนแท่งที่ 3 เป็นแท่งเทียนที่เป็น Trend Bar เต็มแท่ง จะยิ่งส่งผลดีต่อรูปแบบนี้มากขึ้น
  • Morning Star และ Evening Star ขอแค่ จุดปิดของแท่งที่ 2 (แท่ง Star) ไม่เลื่อมล้ำกับจุดปิดของแท่งเทียนแท่งที่ 1 ก็พอแล้ว


เหตุผลที่แท่งเทียนแท่งที่ 3 มีความสำคัญต่อรูปแบบตระกูล Star มากเพราะแท่งที่ 3 จะเป็นแท่งยืนยันว่า ความไม่ชัดเจนก่อนหน้านี้ได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น หากแท่งที่ 3
สามารถทะลุ High หรือ Low ของแท่ง Star ไปได้นั่นหมายความว่า ความเป็นไปได้ที่จะกลับตัวล้มเหลวและราคาก็จะวิ่งไปต่อในทิศทางเดิม


ตัวอย่างของ Morning Star และ Evening Star
Ex1



Ex2



Ex3



Ex4



Ex 5



โค๊ด: [Select]
http://tradding2onlinemoney.blogspot.com/2013/06/stars.html
  • Lolox101

  • ****
  • สถานะ: ออฟไลน์
  • พลังน้ำใจ: 0 | กระทู้ 250
  • เพศ: ไม่ระบุ
วิธีเปิดบัญชี forex exness อย่างละเอียด 2024 ทีละขั้นตอน | วิธีสมัคร Forex Update 2567



ความคิดเห็นที่ 1
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: 01/ส.ค./2015 01:00:05 »
ขอบคุณมากๆครับ สําหรับบทความ   :)   :)
  • koka2015

  • ****
  • สถานะ: ออฟไลน์
  • พลังน้ำใจ: 0 | กระทู้ 250
  • เพศ: ไม่ระบุ
ความคิดเห็นที่ 2
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: 21/เม.ย./2017 01:31:59 »
ขอบคุณครับ
  • maple

  • *
  • สถานะ: ออฟไลน์
  • พลังน้ำใจ: 1 | กระทู้ 7
  • เพศ: ไม่ระบุ
 

SMF 2.0.15 | SMF © 2011, Simple Machines
SMFAds for Free Forums